2.การคำนวณและวิศวกรรมควอนตัม (Quantum Computing & Engineering)




    เทคโนโลยีควอนตัมจะเข้ามามีบทบาททำให้ภาพที่เราจินตนาการไว้เกิดขึ้นได้จริง เช่น คอมพิวเตอร์สามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้นหลายพันเท่า สามารถถอดรหัสดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตที่ยาวมากเป็นพันๆ ล้านหน่วย สามารถสร้างแบบจำลองเพื่อค้นหายาใหม่ๆ ที่ใช้ได้อย่างแม่นยำกับผู้ป่วย ใช้ตรวจวินิจฉัยโรคในการแพทย์ได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องรอผลแล็บหลายวัน

    รวมถึงยังมีการสร้างอุปกรณ์ไฮเทคอื่นๆ เช่น ชิปสำหรับนาฬิกาอะตอม (Atomic Clock) ใช้เทียบค่าเวลาสากลที่มีความแม่นยำมาก ถึงระดับนาโนวินาที (nano-second) รองรับการซื้อขายในระบบธนาคาร หรือคำสั่งซื้อในตลาดหลักทรัพย์ที่มีปริมาณถึง 100 ล้านคำสั่งต่อวินาทีได้


ทัศนคติของฉันต่อการคำนวณและวิศวกรรมควอนตัม : เทคโนโลยีนี้เป็นการพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือยกระดับคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นโดยการเพิ่มการทำงารต่างๆเข้าไปในคอมพิวเตอร์เพิ่มความสามารถในการทำงานของคอมพิวเตอร์


Comments

Popular posts from this blog

9.กายจำลองทดสอบยา (Companion Diagnostics)

8.ไฟเบอร์สารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์ (Microbial Multifunctional Fiber)

4.การเดินทางแบบไร้รอยต่อ (Mobility-as-a-Service, Maas)